Friday, September 4, 2015

สูตรฟิสิกส์ ม.6

การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

 การเคลื่อนที่ใน 2 มิติ

สูตร    แนวราบ  ความเร็วคงที่
s    =    vt

สูตร    แนวดิ่ง  มีความเร่ง g
v    =    u + gt
s    =    t
s    =    ut + gt2
v2    =    u2 + 2gs

สูตรลัด
sราบ    =    
smax    =    
ขว้างไกลสุด    =    45 ํ
ขว้างให้ตกไกลเท่ากัน    =    90 ํ
 sดิ่ง    =    
   =    

สูตร    ความเร็วลัพธ์
v2ลัพธ์    =    u2ลัพธ์ 2ghดิ่ง

สูตร    การเคลื่อนที่แนววงกลม
วัตถุเคลื่อนที่ด้วย v คงที่
ac    =    
วัตถุเคลื่อนที่ด้วย v ไม่คงที่
aลัพธ์    =    
F    =    
Fc    -    แรงสู่ศูนย์กลาง
ac    -    ความเร่งสู่ศูนย์กลาง
v    -    ความเร็ว

สูตร    การคำนวณแรงสู่ศูนย์กลาง
form    8    แบบ
1.  วัตถุผูกเชือกแกว่งเป็นวงกลม
T    =    
2.  ดาวเทียมโคจรรอบโลก
mg    =    
3.  วัตถุผูกเชือกแกว่งเป็นรูปกรวย
tan    =    
4.  วัตถุผูกเชือกแกว่งในระนาบดิ่ง
T1 + mg    =    
T2 - mg    =    
T3    =    
- mg cos + T4    =    
5.  รถวิ่งเลี้ยวโค้งบนถนนราบ
   =    
6.  มอเตอร์ไซค์เลี้ยวโค้ง
tan    =    
7.  มุมที่ยกพื้นถนนขึ้นจากแนวดิ่ง
tan    =    
8.  มอเตอร์ไซค์ไต่ถัง
   =    

สูตร    อัตราเร็วเชิงมุม
   =        =    
w    =    ระยะทางเชิงมุม / เวลา    =    
v    =    wR
w    =        =    2 f
Fc    =    mw2R
v    =        =    2 Rf
      -    ระยะทางเชิงมุม
w    -    อัตราเร็วเชิงมุม
T    -    คาบ
f    -    ความถี่
R    -    รัศมี

สูตร    โพรเจกไทล์บนพื้นเอียง

หลักการ
1.  แตกเข้าแกน x '  ,  y '
2.  แตก g เข้าแกน
3.  คิดแบบโพรเจกไทล์ธรรม
หลักการ
ให้จับพื้นเอียงตั้งขึ้นแนวดิ่ง แล้วคิดแบบธรรมดา โดยใช้ g อันใหม่เป็น  gsin

สูตร    เคลื่อนที่เป็นวงกลมพอดี
vบน    =    
vล่าง    =    
H    =    2.5 R

สูตร    ผลต่างแรงตึงเชือก
แกว่งด้วย v คงที่
Tล่าง - Tบน    =    2mg
แกว่งด้วย v ไม่คงที่
Tล่าง - Tบน    =    6mg

สูตร    ดาราศาสตร์
   =    
   =    

สูตร    โคจรรอบสิ่งเดียวกัน
   =    
T    -    คาบของการโคจร
R    -    รัศมีวงโคจร
M    -    มวลของดาวที่มีวัตถุอื่น มาโคจรรอบ ๆ
G    -    ค่านิจโน้มถ่วงสากล  6.67 * 10-11  Nm2 / kg2

สูตร    ค่า g ในอวกาศ
     =    
g'    -    ค่าความเร่งโน้มถ่วงในอวกาศ
g    -    ค่าความเร่งโน้มถ่วงที่ผิวโลก
R    -    รัศมีโลก
h    -    ความสูงจากผิวโลก

การเคลื่อนที่แบบหมุน
สูตร    ทอร์ก โมเมนต์ความเฉื่อย
   =        =    
I    =    
v    =    wR
S    =     * R
a    =    
   -    ทอร์ก  ( N.m )
I    -    โมเมนต์ความเฉื่อย  ( kg . m2 )
   -    ความเร่งเชิงมุม  ( rad / s2 )
R    -    แทนการหมุน
สูตร    พลังงานจลน์ในการหมุน
Ekหมุน    =    
Ekทั้งหมด    =    

สูตร    โมเมนตัมเชิงมุม

L    =    mvR    =    Iw

สูตร    กฏการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม
Lแรก    =    Lหลัง
   =    
   -    โมเมนต์ความเฉื่อย
w    -    อัตราเร็วเชิงมุม
L    -    โมเมนตัมเชิงมุม

สูตร    ซิมเปิลฮาร์มอนิก
แกว่งตุ้นาฬิกา
T    =    
w    =    
สั่นสปริง
T    =    
w    =    
แกว่งกรวย
T    =    
w    =    
T    -    คาบ
l    -    ความยาว
g    -    ความเร่ง
k    -    ค่าคงที่สปริง

สูตร    ซิมเปิลฮาร์มอนิก
y    =    ymax sin wt
v    =    vmax cos wt
a    =    - amax sin wt
vใด ๆ    =    w
vmax    =    wR
aใด ๆ    =    w 2y
amax    =    w2R
v    -    ความเร็ว
a    -    ความเร่ง

สูตร    หลักคำนวณเรื่องสปริง
ดึงสปริงคนละข้าง
Kรวม    =    K1 + K2
สปริงต่อขนาน
Kรวม    =    K1 + K2 + K3
สปริงต่ออนุกรม
   =    
สมบัติเชิงกลของสาร

  สมบัติเชิงกลของสาร
สูตร    สมบัติเชิงกลของสาร
ความเค้น    =    
ความเครียด    =    
มอลดูลัสของยัง    Y   =    
F    -    แรงในแนวตั้งฉาก  (N)
A    -    พื้นที่หน้าตัด  (ตร.ม.)
   -    ระยะยืด  (m)
L    -    ความยาวเดิม  (m)

สูตร    ความดันในของเหลว  ความดันสัมบูรณ์
P    =    
P    =    gh
Pสัมบูรณ์    =    Pเกจ + Pบรรยากาศ
F    -    แรงดัน  (N)
P    -    Pเกจ เป็นความดันเนื่องจากน้ำหนักของเหลว  (N / m2)
   -    ความหนาแน่นของของเหลว  (kg / m3)
h    -    ความลึกของของเหลว  (m)

สูตร    แรงดันผนังภาชนะ , แรงน้ำดันเขื่อน
F    =    PA    =     Aข้าง
แรงที่น้ำดันเขื่อน
F    =    
1.  ถ้าเป็นเขื่อนเอียง 1 ข้าง การหาแรงดันเขื่อนเอียงต้องใช้พื้นที่เอียงด้วย
F    =    PAเอียง
2.  น้ำดัน 2 ข้าง คิดเป็นแรงลัพธ์ ถ้าเขื่อนเอียงให้คิดเป็นตรง
   =    F1 - F2
   =    

สูตร    หลอดรูปตัว U
ปลายเปิด 2 ข้าง
PA    =    PB
   =    

สูตร    ความดันบรรยากาศ
ความดัน 1 บรรยากาศ    =    1.01 * 105  N / m2  (Pa)
ความดัน 1 บรรยากาศ    =    ปรอทสูง 75 cm
ความดัน 1 บรรยากาศ    =    น้ำสูง 10.3 m

สูตร    กฎของบอยล์
P1V1    =    P2V2

สูตร    กฎของชาร์ล
   =    

สูตร    กฎของแก๊ส  ( เมื่อจำนวนโมลคงที่ )
   =    

สูตร    กฎของพาสคัล
   =    
F    -    แรงกดลูกสูบเล็ก  (N)
W    -    น้ำหนักที่กดลูกสูบใหญ่  (N)
A    -    พื้นที่สูบใหญ่  (m2)
a    -    พื้นที่สูบเล็ก  (m2)
ถ้าต้องการผ่อนแรงมากขึ้นจะใช้ไม้คาน
O    จุดหมุน
Mตาม    =    Mทวน
FL    =    F 'l

สูตร    แรงลอยตัว
B    =    vgเหลว    =    mgเหลว

สูตร    ความตึงผิว
เหรียญ
F    =     L
ห่วงลวด
F    =     2L

สูตร    ความหนืด
f    =    
B    -    แรงลอยตัว
V    -    ปริมาตร  (m3)
   -    ความตึงผิว  (N / m)
F    -    แรงตึงผิว
L    -    ความยาวเส้นผิวของเหลว  (m)
f    -    แรงหนืด  (N)
   -    สัมประสิทธิ์ความหนืด
r    -    รัศมีทรงกลม
v    -    อัตราเร็วของวัตถุ

สูตร    ของไหลในอุดมคติ
อัตราการไหล    เมื่อของเหลวไหลตามหลอดการไหล m ของเหลวที่ผ่านที่ตำแหน่งใด ๆ ใน 1 วินาที มีค่าคงที่เสมอ
A1V1    =    A2V2
AV    คือ    อัตราการไหล  (m3 / s)

หลักของแบร์นูลลี
ณ ตำแหน่งใด ๆ ในของไหล  ผลรวมของความดัน , พลังงานจลต่อปริมาตร และพลังงานศักย์ต่อปริมาตรมีค่าคงที่เสมอ
P1 +    =    P2 +

ความร้อน
 สูตร   พลังงานความร้อน  อุณภูมิ

Q  =  mcT
Q  =  CT
C  =  mc
Q  =  mL
Q  -  ปริมาณความร้อน  (J)
m  -  มวล  (kg)
T  -  อุณหภูมิ (C)
C  -  ค่าความจุความร้อน
c  -  ค่าความจุความร้อนจำเพาะ
L  -  ค่าความร้อนแฝงความร้อนของวัตถุ

สูตร   กฎของแก๊ส

PV  =  nRT
PB  =  NKBT
P  -  ความดัน(N/m2)
V  -  ปริมาตรของแก๊ส(m3)
N  -  จำนวนโมเลกุลทั้งหมดของแก๊ส
n  -  จำนวนโมลของแก๊ส
R  -  ค่าคงตัวของแก๊ส   8.314  J/mol x K
KB  -  ค่านิจโบลต์ซมันน์  1.38 x 10-23
T  -  อุณหภูมิ  (K)
*ใช้ได้เมื่อไม่มีการเปลี่ยนสถานะ*


สูตร   แบบจำลองของแก๊ส
PV  =  
NE
 1  โมเลกุล  =   
P  -  ความดัน
V  -  ปริมาตรของแก๊ส
N  -  จำนวนโมเลกุลทั้งหมด
n  -  จำนวนโมลของแก๊ส
R  -  ค่าคงตัวของแก๊ส  8.314  J/mol x K
KB  -  ค่านิจโบลต์ซมันน์  1.38 x 10-23
T  -  อุณหภูมิ (K)
Vrms  -  อัตราเร็วรากที่สองของกำลังสองเฉลี่ย

สูตร   แก๊สผสมกัน
nผสมTผสม  =  
PผสมVผสม  =   
P  -  ความดัน
n  -  โมล
V  -  ปริมาตร 
สูตร    แบบจำลองของแก๊ส
PV   =  
Vrms  =  
NEk-  =  
Ek-  1  โมเลกุล    
P  -  ความดัน
V  -  ปริมาตรของแก๊ส
N  -  จำนวนโมเลกุลทั้งหมด
n  -  จำนวนโมลของแก๊ส
R  -  ค่าคงตัวแก๊ส  8.314  J/mol x k
KB  -  ค่านิจโบลต์ซมันน์  
T  -  อุณหภูมิ  (K)
V rms -  อัตราเร็วรากที่สองของกำลังเฉลี่ย

สูตร   แก๊สผสมกัน
งานในการเปลี่ยนปริมาตร
W  =  P(V2 - V1)
P  -  ความดันแก๊ส
V2  -  ปริมาตรแก๊สตอนหลัง
V1  -  ปริมาตรแก๊สตอนแรก
W  -  งานที่แก๊สทำ

สูตร   พลังงานภายในระบบ
U  =  NE-K  

 ไฟฟ้ากระแสสลับ

สูตร    ความต้านทานเชิงความจุ

สูตร    ความต้านทานเชิงเหนี่ยวนำ

สูตร    ความต้านทาน
R  =  
XC  -  ความต้านทานเชิงความจุ  (โอห์ม)
XL  -  ความต้านทานเชิงเหนี่ยวนำ  (โอห์ม)
R  -  ความต้านทาน  (โอห์ม)
W  -  อัตราเร็วเชิงหมุน  (rad/s)
C  -  ค่าความจุ  (ฟาร์ด)
L  -  ค่าความเหนี่ยวนำ  (เฮนรี)

สูตร    ไฟฟ้ากระแสสลับ
I  -  กระแสที่เวลาใดๆ (A)
Imax  -  กระแสสูงสุด  
V  -  ความต่างศักย์ที่เวลาใดๆ  (V)
Vmax  -  ความต่างศักย์สูงสุด
W  -  อัตราเร็วเช้งมุมของการหมุนขดลวด  (rad/s)
t  -  เวลาใดๆ
 -  เฟสขณะที่เริ่มต้นหมุนของลวด

สูตร    การรวมความต้านทาน
วงจรต่ออนุกรมกัน
วงจรต่อขนานกัน
Z  -  ความต้านทานเชิงซ้อน  (โอห์ม)
XL  -  ความต้านทานเชิงเหนี่ยวนำ  (โอห์ม)
XC  -  ความต้านทานเชิงความจุ  (โอห์ม)

สูตร    ค่ายังผล , ค่ามิเตอร์ , ค่า RMS (Root Mean Square)
IRMS  -  ค่ามิเตอร์  (A)
Imax  -  กระแสสูงสุด
VRMS  -  ค่ามิเตอร์  (V)
Vmax  -  ความต่างศักย์สูงสุด

สูตร    กำลังเฉลี่ย
P  =  IV(cos)
P  =  
  
P  -  กำลังเฉลี่ย  (วัตต์)
cos  -  ตัวประกอบกำลัง
Pmax  -  กำลังสูงสุด  (วัตต์)
สูตร    คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
c  =  f
c  -  ความเร็วแสง  (3 x 108 m/s)
f  -  ความถี่  (HZ)
 -  ความยาวคลื่น  (m)

สูตร    การแทรกสอด
S1 p  -  S2 p    =        =        =    

สูตร   จุดปฏิบัพ
S1 p  -  S2 p   =        ;  n  =  0 , 1 , 2 , .....

สูตร    จุดบัพ
S1 p  -  S2 p    =    (n  -  )     ;  n  =  1 , 2 , 3 , .....

สูตร    โพลาไรซ์เซชัน
1n2    =     p
n   =   ดรรชนีหักเห
p   =   มุมตกกระทบที่ทำให้รังสีหักเหและสะท้อนทำมุม  90 ํ  
(มุมโพลาไรซ์ , มุมบรูวสเตอร์)

ฟิสิกส์อะตอม

สูตร   สนามไฟฟ้า
E    =        =    

สูตร   แรงแม่เหล็ก
F    =    qvb
E   =   สนามไฟฟ้า  (n/c)
   =   ความต่างศักย์ไฟฟ้า  ()
d   =   ระยะห่างระหว่าง  แผ่นโลหะคู่ขนาน  (m)
v   =   ความเร็ว  (m/s)
b   =   ความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้า  (t)
q   =   ประจุไฟฟ้า  (c)

สูตร  คำนวนทอมสัน
   =      
  -----   -----
q   =   ประจุ  (c)
m   =   มวล  (kg)
   =   ความเร็ว  (m/s)
  =   ความต่างศักย์  (v)
B    =   สนามแม่เหล็ก  (r)
d    =   ระยะห่าง  (m)
E    =   สนามไฟฟ้า  (v/m)
   =        =        =    

สูตร  มิลลิแกน
qE  =  mg
q  -  ประจุ  
E  -  สนามไฟฟ้า  
m    -    มวล  
g    -    แรงโน้มถ่วงโลก หรือ ความเร่ง  

ควอนตัมของพลังงานไฟฟ้า
E  =  hf
E  -  พลังงาน
h  -  ค่าคงที่ของพลังค์  (6.6 x 10-34  J.S)
f  -  ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

 ธาตุไฮโดรเจน
L  =  mvr  =  nh-
n  -  เลขควอนตัม  1,2,3, ...
h-  -    (1.05 x 10-34  J.S)
Ei  -  พลังงานของอิเล็คตรอนก่อนเปลี่ยนวงโคจร
Ef  -  พลังงานของอิเล็คตรอนหลังเปลี่ยนวงโคจร
h  -   ค่านิจของพลังค์  (6.6 x 10-34  J.S)
f  -  ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

ระดับพลังงานของธาตุไฮโดรเจน
E  =  hf  =  

ทฤษฎีอะตอมโบร์
rn  =  n2 (0.53 * 10-10)
Vn  =  
fn  =  
rn  -  รัศมีวงโคจรที่  n
Vn  -  อัตราเร็วของอิเล็คตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียส  วงที่  n
fn   -  ความถี่ของอิเล็คตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียส  ลงที่  n

รังสีเอ็กซ์
qv  =  
q  -  ประจุ
v  -  ความต่างศักย์  (V)
h  -  ค่าคงที่จของพลังค์  (6.6 x 10-34  J.S)
 -  ความยาวคลื่น

โฟโต้อิเล็คทริก
Ek  =  hf - W
Ek  -  พลังงานจลน์
W  -  งาน
f  -  ความถี่ของแสงที่ฉายมาที่โลหะ

สมมติฐานเดอบรอยล์
โมเมนต์ของแสง
p  =  
ความยาวคลื่นของเดอบรอยล์
หลักความไม่แน่นอนของ  Heisenberg
x  -  ความไม่แน่นอนทางตำแหน่ง
P  -  ความไม่แน่นนอนทางโมเมนตัม
สูตร     ธาตุไฮโดรเจน
L  =  mvr  =  nh-
n  -  เลขควอนตัม  1,2,3, ...
h-  -    (1.05 x 10-34  J.S)
Ei  -  พลังงานของอิเล็คตรอนก่อนเปลี่ยนวงโคจร
Ef  -  พลังงานของอิเล็คตรอนหลังเปลี่ยนวงโคจร
h  -   ค่านิจของพลังค์  (6.6 x 10-34  J.S)
f  -  ความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

สูตร   ระดับพลังงานของธาตุไฮโดรเจน
E  =  hf  =  

สูตร   ทฤษฎีอะตอมโบร์
rn  =  n2 (0.53 * 10-10)
Vn  =  
fn  =  
rn  -  รัศมีวงโคจรที่  n
Vn  -  อัตราเร็วของอิเล็คตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียส  วงที่  n
fn   -  ความถี่ของอิเล็คตรอนที่โคจรรอบนิวเคลียส  ลงที่  n

สูตร   รังสีเอ็กซ์
qv  =  
q  -  ประจุ
v  -  ความต่างศักย์  (V)
h  -  ค่าคงที่จของพลังค์  (6.6 x 10-34  J.S)
 -  ความยาวคลื่น

สูตร   โฟโต้อิเล็คทริก
Ek  =  hf - W
Ek  -  พลังงานจลน์
W  -  งาน
f  -  ความถี่ของแสงที่ฉายมาที่โลหะ

สมมติฐานเดอบรอยล์

สูตร   โมเมนต์ของแสง
p  =  

สูตร   ความยาวคลื่นของเดอบรอยล์

สูตร   หลักความไม่แน่นอนของ  Heisenberg
x  -  ความไม่แน่นอนทางตำแหน่ง
P  -  ความไม่แน่นนอนทางโมเมนตัม
ฟิสิกส์นิวเคลียส

สูตร    เวลาครึ่งชีวิต
N  =  
N  -  สารตั้งต้น
N0  -  สารที่เหลือ

สูตร   กัมมันตภาพ
A  =  N
A  -  กัมมันตภาพ
 -  ค่าคงที่ของการสลายตัว
N  -  จำนวนนิวเคลียสกัมมันตรังสีที่มีในขณะนั้น

สูตร   ค่าคงที่ของการสลายตัว
 =  
 -  ค่าคงที่ของการสลายตัว
T  -  เวลาครึ่งชีวิต

สูตร   จำนวนนิวเคลียส
จำนวนนิวเคลียส  =  
NA  -  Avogadro Number  (6.02 * 1023)
m  -  มวลสารหน่วยเป็นกรัม
A  -  เลขมวล

สูตร   สมดุลการสลายของกัมมันตรังสี

สูตร   รัศมีของนิวเคลียส
R  =  
R  =  รัศมีของนิวเคลียส

สูตร   พลังงานยึดเหนี่ยว
E  =  mC2
มวล  1  u  เปลี่ยนเป็นพลังงานได้  931  MeV
E  -  พลังงาน  (J)
m  -  มวล  (kg)
C  -  อัตราเร็วแสง  (m/s)


No comments:

Post a Comment